วันอาทิตย์ที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2560

กรอบการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ตามนโยบายการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สำนักงาน กศน.
(เอกสารแนบท้ายหนังสือ สำนักงาน กศน. ด่วนที่สุด ที่ ๐๒๑๐.๐๔/๔๗๕ ลงวันที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๔๔๘)
๑. หลักการ
ตามที่รัฐบาลมีนโยบายด้านการศึกษา เพื่อสร้างโอกาสทางการศึกษาและกระจายโอกาส ทางการศึกษาในสังคมไทย โดยคำนึงถึงการสร้างความเสมอภาค ความเป็นธรรมให้เกิดขึ้นแก่ประซากร ทุกกลุ่ม รวมถึงผู้ยากไร้ ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้บกพร่องทางกาย/ทางการเรียนรู้ ซนกลุ่มน้อย โดยสนับสนุน การจัดการศึกษาตามวัยและพัฒนาการอย่างมีคุณภาพตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน                                                                                                                                      และ
การจัดการศึกษาชุมซนเพื่อมุ่งให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้และการศึกษาตลอดซีวิตนั้น
สำนักงาน กคน. ได้กำหนดนโยบายด้าน การจัดการศึกษานอกระบบ แผนงานสนับสนุนการ จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสนับสบุน ๑) ค่าเล่าเรียน ๒) ค่าหนังสือเรียน ๓)                                                         ค่าจัดกิจกรรมพัฒนา
คุณภาพผู้เรียนอย่างทั่วถึง เพื่อเพิ่มโอกาสในการรับการศึกษาที่มีคุณภาพโดยไม่เสียค่าไซ้จ่าย
เพื่อให้การจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ดำเนินการตามนโยบายดังกล่าวอย่างมี ประสิทธิภาพ สำนักงาน กคน.จึงกำหนดกรอบการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ตามนโยบายการจัด การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงาน กคน. ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ให้สถานศึกษาจัดเพิ่มเติม จากการเรียนปกติ ให้กับนักศึกษา กคน.ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบขั้นพื้นฐาน ๒. กรอบการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
เพื่อให้สถานศึกษาได้จัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เป็นไปในแนวทางเดียวกันอย่างมี ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล เกิดความคุ้มค่า ประหยัด                                                                เกิดประโยชน์ต่อผู้เรียนและทางราชการสูงสุด
สำนักงาน กคน. จึงได้กำหนดกรอบการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน จำนวน ๙ กิจกรรม ดังนี้ ๒.® กิจกรรมพัฒนาวิชาการ
เป็นการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีพื้นฐานความรู้เพิยงพอกับการศึกษาในแต่ละระดับ และพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความสามารถทางด้านวิซาการเพิ่มมากขึ้นในรายวิซาตามหลักสูตรสถานศึกษา ได้แก่ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ หรือวิซาอื่นๆ ตามความต้องการซองนักศึกษา กศน. โดยมีรูปแบบการดำเนินงาน ดังนี้
๒.๑.๑วิทยากรหรือผู้สอน ควรเป็นผู้ที่มีความรู้หรือประสบการณ์ในการสอนวิซานั้นๆ โดยตรง ซึ่งอาจจะเป็นบุคคลภายนอก หรือ ครู กศน. ได้ตามความเหมาะสม
๒.๑.๒ จำนวนนักศึกษา กศน. ที่ร่วมกิจกรรม ให้อยู่ในดุลยพินิจซองผู้บริหารสถานศึกษา
๒.๒ กิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต
เป็นการจัดกิจกรรมเสริมเพิ่มเติมจากการเรียนปกติในสาระทักษะการดำเนินชีวิต หลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เนื่องจากลังคมปิจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทั้งด้าน เศรษฐกิจ ลังคมซ่าวสารซ้อมูล และเทคโนโลยี มีการแข่งขันและความซัดแย้งมากขึ้น จึงมีความจำเป็นที่ สถานศึกษาต้องจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตให้กับ นักศึกษา กศน. โดยมีวัตถุประสงค์หลัก คือ เพื่อให้มี ความรู้ ความเข้าใจ มีเจตคติ ค่านิยมที่ถูกต้อง และมีทักษะ หรือความสามารถพื้นฐานที่จำเป็นในการเผซิญ ปญหาที่เกิดขึ้นในชีวิต เซ่น ปญหายาเสพติด การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ เพศสัมพันธ์ ทะเลาะวิวาท ครอบครัว แตกแยก ความรุนแรง ภัยพิบัติ ความเครียด ฯลฯ รวมทั้งมีคุณสมบัติที่พึงประสงคในการอยู่ร่วมกับผู้อื่นใน

-๒- สังคมได้อย่างมีความสุข และสามารถน่าความรู้จากการเข้าร่วมกิจกรรมไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่าง เหมาะสม
ทักษะชีวิต ๑๐ ประการ (ขององค์การอนามัยโลก) ที่นักศึกษา กคน.ทุกคนจำเป็นต้องมี คือ ๑) ทักษะการตัดสินใจ ๒) ทักษะการแก้ปญหา ๓) ทักษะการคิดสร้างสรรค์ ๔) ทักษะการคิดอย่างมี วิจารณญาณ ๔) ทักษะการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ๖) ทักษะการสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่น ๗) ทักษะ การตระหนักรู้และเห็นคุณค่าในตนเอง ๘) ทักษะการเข้าใจผู้อื่น ๙) ทักษะการจัดการกับอารมณ์ ๑๐) ทักษะ การจัดการกับความเครียด
สำหรับเนื้อหาที่สถานศึกษาจะน่ามาใช้ในการ'ฝึกทักษะชีวิตให้กับ นักศึกษา กคน. จะมาจาก ประเด็นปญหาที่เกิดขึ้นกับตนเอง ครอบครัว ขุมซน สังคม โดยขอบข่ายเนื้อหาที่เป็นจุดเน้น ๘ เรื่อง คือ
๒.๒.๑ ทักษะชีวิตเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพติด เข่น จัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์พิษภัยของยาเสพติด เหล้า บุหรี่ /ถ้าใช้ยาเสพติดจะเกิดอะไรขึ้นกับตนเองและ คนในครอบครัว/ฝึกกระบวนการตัดสินใจแกัป้ญหาในสถานการณ์เสี่ยงที่จะเช้าไปเกี่ยวช้องกับยาเสพติด/ พ่อแม่จะทำอย่างไรเมื่อลูกติดยา ฯลฯ
๒.๒.๒ ทักษะชีวิตเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้เพศศึกษาแก้ป้ญหาเอดส์ เข่น จัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อฝึกทักษะการคิดอย่างวิเคราะห์ถึงโอกาสเสี่ยงที่อาจมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่พร้อมและผลกระทบที่จะตามมา/ ฝึกทักษะการเจรจาต่อรองเพื่อป้องกันตนเองจากการถูกล่วงละเมิดทางเพศและวิธีการขอความข่วยเหลือ ฯลฯ ๒.๒.๓ ทักษะชีวิตเพื่อส่งเสริมคุณธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เข่น จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อฝึกทักษะการปฏิเสธและหาทางออกเมื่อถูกซักซวนไปเกี่ยวช้องกับอบายมุข/ฝึกทักษะ การสื่อสารและสร้างสัมพันธภาพ ในเรื่องความเสียสละ มีเมตตากรุณา ให้อภัย / สร้างความตระหนักในเรื่อง ความขยัน ประหยัด ซื่อสัตย์ มีวินัย สะอาด สุภาพ สามัคคี มีนื้าใจ ฯลฯ
๒.๒.๔ ทักษะชีวิตเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมซาติและสิ่งแวดล้อม เข่น จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์เรื่องการใช้ทรัพยากรและพลังงานอย่างประหยัด เพื่อลดภาวะโลกร้อน / กระบวนการตัดสินใจและแกิไฃป้ญหาเมื่อพลังงานขาดแคลน ฯลฯ
๒.๒.๔ ทักษะชีวิตเพื่อส่งเสริมความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน / การสร้างหลักใ]ระกัน ความมั่นคงในชีวิตและทรัพย์สินให้กับตนเองและครอบครัว เข่น จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อฝึกทักษะการคิด วิเคราะห์เรื่องโอกาสเสี่ยงที่ทำให้เกิดภัยอันตรายต่างๆทั้งอุบัติเหตุ ภัยธรรมซาติ ก่อการร้าย ถูกทำร้ายร่างกาย ถูกส่อลวงการถูกละเมิดสิทธิ/ฝึกทักษะการสื่อสารเพื่อเตือนภัย แจ้งเหตุร้าย การขอความข่วยเหลือการ อพยพ / ฝึกทักษะการจัดการความเครียดเมื่อประสบภัยพิบัติ / สิทธิประโยชน์ด้านการประกันภัย
๒.๒.๖ ทักษะชีวิตเพื่อส่งเสริมสุขภาพกาย-จิต เข่น จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อฝึกทักษะ การตระหนักรู้และเห็นคุณค่าในตนเองโดยสำรวจพฤติกรรมในชีวิตประจำวันที่เป็นการส่งเสริมหรือทำลาย สุขภาพของตนเอง/ การวิเคราะห์ช้อด็ ข้อเสียเพื่อหาทางเลือกที่เหมาะสมในการดูแลสุขภาพตนเอง ฯลฯ
๒.๒.๗ ทักษะชีวิตเพื่อส่งเสริมประซาธิปไตยและความเป็นพลเมืองในระบอบประซาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เข่น จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อฝึกทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ เรื่องสิทธิเสรีภาพของประซาซนตามรัฐธรรมนูญ การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประซาซน / ฝึกการคิด วิเคราะห์เพื่อแก้ป้ญหาชุมซนด้วยวิถีทางประชาธิปไตย การตรวจสอบ การเลือกตั้งเพื่อให้ได้ผู้แทนที่สามารถ ทำคุณประโยซน้ให้ขุมซน สังคมได้อย่างมีเหตุผลและอิสระ ฯลฯ
๒.๒.๘ ทักษะชีวิตอื่นๆ โดยสถานศึกษาสามารถเพิ่มเติมเนื้อหาอื่นๆ ได้ตามความต้องการ และความสนใจของ นักศึกษา กคน.
๓-
๒.๓ กิจกรรมเพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT)
เป็นกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้และทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) และพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพัวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐ ระบบการเรียน แบบอิเล็กทรอนิกส์ การแสวงหาความรู้หรือเช้าถึงข้อมูลและข่าวสารอย่างรู้เท่าทัน โดยกำหนดแนวทางให้ สถานศึกษาดำเนินการ ดังนี้
๒.๓.๑ จัดการเรียนการสอนหลักสูตรคอมพิวเตอร์พื้นฐาน และสาระสำคัญของพระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐ ให้กับกลุ่มเป้าหมายที่ยังไม่มีความรู้ตามหลักสูตร คอมพิวเตอร์พื้นฐาน และจะจบหลักสูตร กคน. ชั้นพื้นฐานทุกระดับ
๒.๓.๒จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรคอมพิวเตอร์พื้นฐาน และสาระสำคัญชอง พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐ หรือเทียบโอนความรู้ โดย
๑) เทียบโอนความรู้ โดยการทดสอบเพื่อประเมินความรู้ สำหรับผู้ที่มีความรู้อยู่แล้ว ๒) จัดการเรียนการสอนเอง ๓) จัดการเรียนการสอนร่วมกับเครือข่าย ๒.๓.๓ ระยะเวลาจัดการเรียนการสอน ไม่น้อยกว่า ๔๐ ชั่วโมง หรือเทียบเท่า ๒.๔ กิจกรรมเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
เป็นการจัดกิจกรรมเพื่อเตรียมความพร้อมให้กับผู้เรียน ในการเช้าสู่ประซาคมอาเซียน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ในด้านการศึกษา เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ความมั่นคง และการเมือง ประกอบด้วย กิจกรรมต่างๆ ดังนี้
๒.๔.๑ กิจกรรมรู้จักประซาคมอาเซียน ความเป็นมา ซื่อประเทศอย่างเป็นทางการ ที่ตั้ง และอาณาเขต ฯลฯ
๒.๔.๒ กิจกรรมพัฒนาการศึกษา การเรียนภาษาเพื่อการสื่อสาร เข่นภาษาอังกฤษ จีน มาเลย์ ตากาล็อก (พิลิปปีนส์) อินโดนีเซีย พม่า เวียดนาม เขมร และลาว
๒.๔.๓ กิจกรรมส่งเสริมความรู้ด้านเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน อุตสาหกรรม แรงงาน สินค้าส่งออกและน่าเช้าจากประเทศไทย ทรัพยากร การคมนาคม แหล่งท่องเที่ยว ฯลฯ
๒.๔.๔ กิจกรรมล่งเสริมความรู้ด้านลังคม ชาติพันธุ ศิลปและ'วัฒนธรรม ประเพณี ศาสนา
ความเชื่อ ฯลฯ
๒.๔.๕ กิจกรรมล่งเสริมความรู้ด้านความมั่งคงและป้ญหาช้อพิพาท/ผลประโยชน์กับประเทศไทย ๒.๔.๖ กิจกรรมล่งเสริมความรู้ด้านการเมืองการปกครอง ได้แก่ ประชาธิปไตย ลังคมนิยม สมบูรณาญาสิทธิราชย์ และเผด็จการ
๒. กิจกรรมที่แสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนาและสถาบันพระมหากษัตริย์
เป็นการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาและล่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียน ได้แสดงออกถึงความจงรักภักดี ต่อชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ มีความภาคภูมิใจในความเป็นคนไทย รักชาติและรักอธิปไตยชองไทย ทะนุบำรุงและปฏิบัติตามหลักธรรมทางศาสนาที่นับถือ การส่งเสริมโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ การเทิดทูนและปกป้องสถาบันพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศาบุวงศ์ ๒.๖ กิจกรรมการเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียง
เป็นการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความเช้าใจ เรื่องปรัชญาชองเศรษฐกิจ พอเพียง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี โดยอาศัยความรอบรู้ และระมัดระวัง ในการน่าความรู้มาใช้ในการวางแผนดำเนินงาน และมีสำนึกในคุณธรรม ซื่อสัตย์ สุจริต มีความ
■๔- ขยันหมั่นเพียร มานะอดทน ใช้สติและ!]ญญาในการดำรงชีวิตด้วยความรอบครอบ โดยสามารถน่ามา ประยุกต์ให้เกิดผลในทางปฏิบัติในการดำรงชีวิตประจำวันทั้งต่อตนเอง ครอบครัวและขุมซน ได้อย่างมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล
๒.๗ กิจกรรมลูกเสือ และกิจกรรมอาสายุวกาชาด
เป็นกิจกรรมเพื่อพัฒนาและส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนเป็นผู้ที่มีจิตอาสา มีความเสียสละใน การช่วยเหลือผู้อื่น สังคมและขุมซน โดยดำเนินการร่วมกับสำนักงานลูกเสือแห่งซาติ สำนักกิจการลูกเสือ และยุวกาชาด กระทรวงศึกษาธิการ สโมสรลูกเสือ และสำนักงานยุวกาชาด สภากาซาดไทย
๒.๗.๑ การเปิดกองลูกเสือ กคน. และการจัดกิจกรรมลูกเสือ ให้เป็นไปตามเกณฑ์การ ประเมินคุณภาพของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
๒.๗.๒ การจัดตั้งซมรมอาสายุวกาซาด และการจัดกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ ตามนโยบาย ด้านกิจกรรมอาสายุวกาซาด สำนักงาน กคน.
๒.๘ กิจกรรมด้านกีฬา และส่งเสริมสุขภาพ
เป็นการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนได้มีโอกาสออกกำลังกายและเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพ พลานามัยที่ดี สร้างนิสัยความมีนํ้าใจเป็นนักกีฬาและใช้เวลาว่างให้เป็นประโยซน์ เป็นการสร้างความรัก ความ สามัคคีในหมู่คณะ ให้รู้จักรู้แพ้ รู้ซนะ รู้อภัย และเป็นการสร้างสัมพันธภาพอันตีระหว่างนักศึกษา กคน. ครู กคน. บุคลากรทางการศึกษา พนักงานราซการ ช้าราซการพลเรือน ครู และผู้บริหารหน่วยงาน/สถานศึกษา
๒.๙ กิจกรรมเสริมสร้างความสามารถพิเศษ
เป็นกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษ หรือมีพรสวรรค์ในด้านต่างๆ ให้มี โอกาสและกล้าแสดงออกถึงทักษะ ความรู้ ความสามารถ ความคิดสร้างสรรค์ และจินตนาการ ในแนวทาง ที่ถูกต้อง เหมาะสม และพัฒนาความสามารถพิเศษหรือพรสวรรค์นี้ไปใช้ประโยซน์ต่อการตนเอง และส่งเสริม สนับสนุนการศึกษาตลอดชีวิต ของสำนักงาน กคน. ต่อไป
๓. รูปแบบของกิจกรรม
๓.๑ แบบการจัดค่ายวิชาการ ค่ายกิจกรรม ทั้งค่ายไป - กลับ และค่ายด้างคืน ๓.๒ แบบชั้นเรียน โดยครู กคน. หรือวิทยากรที่มีความรู้หรือประสบการณในการสอนวิซานั้นๆ เป็นผู้จัดกิจกรรมหรือร่วมกับเครือข่าย
๓.๓ แบบศึกษาดูงาน ในพื้นที่ใกล้เคียงหรือภายในจังหวัด/ภาคเดียวกัน กรณีออกนอกพื้นที่ ให้ขอความเห็นซอบจากผู้อำนวยการสำนักงาน กคน.จังหวัด/กทม.
๓.๔ อื่นๆ โดยให้พิจารณารูปแบบของกิจกรรมช้อที่ ๓.- ๓.๓ ก่อน แล้วจึงดำเนินการในข้อ ๓.
๔. งบประมาณ
งบประมาณในแผนงานสนับสนุนการจัดการศึกษาชั้นพื้นฐาน โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัด การศึกษานอกระบบตั้งแต่อนุบาลจนจบการศึกษาชั้นพื้นฐาน งบเงินอุดหนุน ในการจัดกิจกรรมพัฒนา
กล่องข้อความ: คุณภาพผูเรยน มรายละเอยด ดงน
๔.๑ ระดับประถมศึกษา คนละ
๔.๒ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น คนละ
๔.๓ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย คนละ ๔.๔ ระดับประกาศนิยบัตรวิซาชีพ คนละ
๑๔๐ บาทต่อภาคเรียน (๒๘๐ บาท/ปี) ๒๙๐ บาทต่อภาคเรียน (๔๘๐ บาท/ปี) ๒๙๐ บาทต่อภาคเรียน (๔๘๐ บาท/ปี) ๔๓๐ บาทต่อภาคเรียน (๑,๐๖๐ บาท/ปี)
๕-
ให้การเบิกจ่าย เป็น'1บิตามระเบียบ'ของ'ทางราชการ ภายในวงเงินรายหัวผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม ในภาคเรียนนั้นๆ โดยยึดหลักบิระหยัด ถูกต้อง โปร่งใส พร้อมรับการตรวจสอบ                                  และไม่ให้สถานศึกษา
เรียกเก็บเงินค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมจากผู้เรียนอีก
๕. เงื่อนไขของการดำเนินงาน
.๑ ผู้รับบริการต้องเป็นนักศึกษา กคน. ที่ลงทะเบียนเรียนในหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ขั้นพื้นฐาน ในภาคเรียนนั้นๆ
๕.๒ ให้สถานศึกษา สังกัดสำนักงาน กคน. จัดทำแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนฯ เป็นรายภาคเรียน ตามกรอบการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนฯ โดยมุ่งให้เกิดบิระโยชน์สูงสุด ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างมีคุณภาพและบิระสิทธิภาพ เพื่อขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการ สถานศึกษา ผู้แทนองค์กรนักศึกษา กคน. ผู้แทนครูและผู้บริหารสถานศึกษา ก่อนเปีดภาคเรียนชองทุกภาคเรียน ๕.๓ให้สถานศึกษา จัดส่งแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนฯ ที่ได้รับความเห็นชอบแล้ว ให้สำนักงาน กคน. จังหวัด/กทม. เพื่อบิระกอบการจัดสรรเงินงบบิระมาณ
๕.๔ ให้สถานศึกษา ดำเนินการตามแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนฯ พร้อมเบิกจ่ายเงิน ตามระเบียบที่กำหนด ให้แล้วเสร็จภายในแต่ละภาคเรียน และรายงานผลให้สำนักงาน กคน. จังหวัด/กทม.
๕.๕ให้สำนักงานกคน.จังหวัดทุกจังหวัด/กทม. มีการนิเทศติดตาม ตรวจสอบบิระเมินผลการจัด กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนฯ และรายงาน ให้สำนักงาน กคน. ภายใน ๓๐ วัน หลังบิดภาคเรียน ทุกภาคเรียน ๕.๖    ให้ใช้ “กรอบการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ตามนโยบายการจัดการศึกษานอกระบบ
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงาน กคน.” ตั้งแต่ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๕๗ เป็นต้นไป

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น